หลักสูตร

เรียนมนุษยศาสตร์แนวใหม่ ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักสื่อสารธุรกิจ

เปิดสอนทั้งภาคปกติ ภาคเสาร์อาทิตย์ ปริญญาใบที่สอง และหลักสูตรนานาชาติ

หลักสูตรปริญญาตรี

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

สาขามุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษขั้นสูง นักศึกษาสามารถนำทฤษฏีและประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและงานที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
บัณฑิตสามารถไปทำงานในภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพระดับนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร เช่น งานโต้ตอบจดหมายทางธุรกิจ งานประชาสัมพันธ์ งานต้อนรับ งานสายการบิน งานพิธีกร งานเลขานุการ และสามารถประกอบอาชีพอื่นๆที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

เรียนภาษาญี่ปุ่นครอบคลุมการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น N5-N1 ผ่านหลายมิติ เช่น วัฒนธรรมญี่ปุ่น เทคโนโลยีญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่น ผู้คน วิถีชีวิตความเป็นอยู่ สร้างและพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่นระดับสูงผ่านกิจกรรมและโครงการแลกเปลี่ยน ณ ประเทศญี่ปุ่นเพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาญี่ปุ่นในองค์กรญี่ปุ่นหรือไทยทั้งภาครัฐและเอกชน สามารถเป็นผู้ประกอบการในทุกสายอาชีพที่ต้องใช้การสื่อสารด้วยภาษาญี่ปุ่น ตลอดจนเพื่อศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น​

รายละเอียดหลักสูตรรูป Flowchart

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษและการแปล

It’s a must because it’s a PLUS. “ภาษาอังกฤษได้แน่ แถมการแปลก็ได้ด้วย”
การเรียน “ภาษาอังกฤษ” ในเนื้อหาที่ “หลากหลาย” เพื่อเปิดโลกทัศน์ทางภาษา และเพิ่มทักษะเฉพาะด้านคือ “การแปล” เพื่อตอบสนองเทรนด์ตลาดแรงงานยุคใหม่ที่ต้องการผู้ที่มีความสามารถเฉพาะทาง นอกไปจากความรู้ทางภาษาแต่เพียงอย่างเดียว หลักสูตรนี้ผ่านการออกแบบมาเพื่อให้บัณฑิตมีพื้นฐานอันแข็งแกร่งเพื่อการประกอบอาชีพที่ใช้ภาษาและการแปล ในหลายภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ และเอื้อต่อการศึกษาต่อได้ทั้งในสายภาษาและสายที่เกี่ยวข้อง ดังผลประจักษ์จากศิษย์เก่าที่เจริญก้าวหน้าหลายรุ่นที่ผ่านมา

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มีความคิดกว้างไกล มีทักษะเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ มีความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์ ตลอดจนมีคุณธรรมและจริยธรรมอันเป็นคุณสมบัติของพลเมืองที่ดีของชาติ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

สาขาวิชาภาษาจีน มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถทั้งทักษะทางภาษาจีน การใช้ประโยชน์ได้จริง สื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ฝึกใช้ภาษากับเจ้าของภาษา การใช้ภาษาที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมชาติเหมือนเจ้าของภาษาใช้เอง

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

ใหม่ล่าสุดสำหรับนักเรียนที่หลงใหลในการแสดงบนเวทีแห่งความฝัน ที่จะคุณถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก จากบทละครสู่การแสดงบนเวทีต่าง ๆ เลือกสาขาศิลปะการแสดงและการละคร เพื่อทำความฝันคุณให้เป็นจริง

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเกาหลี

ในปัจจุบันสาธารณรัฐเกาหลีมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในเวทีโลก ภาษาเกาหลีจึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับตลาดแรงงานรุ่นใหม่ สาขาวิชาภาษาเกาหลีจึงมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่สามารถใช้ภาษาเกาหลีได้หลากหลายรูปแบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน เช่น เจ้าหน้าที่ประสารงานฝ่ายต่างประเทศ ล่าม ผู้ทำงานในธุรกิจท่องเที่ยว หลักสูตรสาขาภาษาเกาหลีมีแผนการเรียนให้เลือกได้มากถึง 3 หลักสูตรซึ่งประกอบด้วย แผนการเรียนแบบปกติ (ภาคปกติ และ ปริญญาตรีใบที่สอง) แผนการเรียนสหกิจศึกษา และแผน Exchange Program ซึ่งนักศึกษาสามารถไปแลกเปลี่ยน ณ สาธารณรัฐเกาหลีเป็นเวลา 2 ภาคการศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อผู้ประกอบการและ Chinese (in the Field of Business) 2+2

เรียนที่ม.หอการค้าไทย(UTCC) 2 ปี และเรียนที่ Beijing Language and Culture University (BLCU) ประเทศจีน 2 ปี ได้ 2 ปริญญา (double degree)
หลักสูตรฯ มีความล้ำสมัย ครอบคลุมตลาดงานด้านภาษาจีนในประเทศไทยและจีน รวมถึงกลุ่มประชาคมอาเซียน เหนือกว่าด้วยเพราะเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในประเทศจีน(WIL)และระบบการเรียนแบบ Digital Hybrid พร้อมสร้างผู้ประกอบการตัวจริง คิดต่างอย่างมีนวัตกรรม หลักสูตรฯ มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นทรัพยากรบุคคลของชาติที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาจีนทั้งด้านความรู้และทักษะ เช่น การฟัง พูด อ่าน เขียน แปล และการทำวิจัย เพื่อสามารถนำไปใช้ในการเป็นผู้ประกอบการและประกอบวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาจีนทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (หลักสูตร PPS)

หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาสหวิทยาการ คณะมนุษยศาสตร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่าหลักสูตร PPS (Philosophy, Psychology, and Sociology) เป็นหลักสูตรด้านมนุษยศาสตร์ (ปรัชญา จิตวิทยา และสังคมวิทยา) ที่ตอบโจทย์การศึกษาร่วมสมัย เพราะมาพร้อมกับกลุ่มวิชาเอกเลือกที่ออกแบบแผนการเรียนได้ตามความสนใจรายบุคคล ปลดล็อกทักษะข้ามศาสตร์ เลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้จากหลากหลายคณะ บูรณาการให้ผู้เรียนรู้ลึกทางมนุษยศาสตร์และรู้กว้างในศาสตร์ประยุกต์อื่น ๆ อย่างเป็นสหวิทยาการ

รายละเอียดหลักสูตร

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ (หลักสูตรสองภาษา)

เน้นความรู้ทางธุรกิจและทักษะภาษาอังกฤษธุรกิจผ่านการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษเกือบทุกรายวิชาด้วยเนื้อหาที่ทันสมัยสำหรับการทำงานในยุค 4.0 พร้อมทั้งสร้างความโดดเด่นด้วยภาษาที่สาม เช่น ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น และภาษาจีน บัณฑิตของเราสามารถทำงานในหลากหลายองค์กรและอาชีพ เช่น ธุรกิจการบิน ธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ นักแปล และ ล่าม รวมทั้งสามารถศึกษาต่อในระดับสูง

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีความเชี่ยวชาญในหลายๆด้าน เช่น การสื่อสารธุรกิจระหว่างวัฒนธรรม ทักษะการนำเสนองาน การเขียนจดหมายโต้ตอบทางธุรกิจ การแปลเอกสาร ความเข้าใจในสุนทรียในงานวรรณกรรม โดยเน้นการนำความรู้ทฤษฎีด้านหลักภาษาและประสบการณ์การเรียนไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการทำงาน สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย เช่น งานประชาสัมพันธ์ การตลาด การโรงแรม การติดต่อลูกค้า งานสายการบิน การท่องเที่ยว การเป็นพิธีกร ล่าม เลขานุการ และสายงานอื่นๆที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ สามารถเข้าทำงานทั้งในภาครัฐและเอกชนระดับนานาชาติ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างดีทั้ง ในภาครัฐและเอกชน อีกทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกงาน ในองค์กรต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ และ ความมั่นใจในการประกอบอาชีพ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

สาขาวิชาภาษาจีน มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถทั้งทักษะทางภาษาจีน การใช้ประโยชน์ได้จริง สื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ฝึกใช้ภาษากับเจ้าของภาษา การใช้ภาษาที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมชาติเหมือนเจ้าของภาษาใช้เอง

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

เรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจ ในทุก ๆ ทักษะ ทั้งในด้านฟัง พูด อ่าน เขียน และแปล เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ฝึกงานในสถานประกอบการที่มีชื่อเสียง และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการประกอบอาชีพ ได้อย่างหลากหลายเมื่อสำเร็จการศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างดีทั้ง ในภาครัฐและเอกชน อีกทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกงาน ในองค์กรต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ และ ความมั่นใจในการประกอบอาชีพ

รายละเอียดหลักสูตรรูป Flowchart

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นทรัพยากรบุคคลของชาติที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาจีนทั้งด้านความรู้และทักษะ เช่น การฟัง พูด อ่าน เขียนและแปล เพื่อสามารถนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาจีนทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน ตลอดจนสามารถใช้ภาษาจีนเพื่อเป็นสื่อในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และเป็นพื้นฐานเพื่อการศึกษาต่อยอดในระดับที่สูงขึ้นต่อไปตามสภาพความพร้อมและความต้องการของนักศึกษาต่อไป

รายละเอียดหลักสูตร
ภาคปกติ

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

สาขามุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษขั้นสูง นักศึกษาสามารถนำทฤษฏีและประสบการณ์ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและงานที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ
บัณฑิตสามารถไปทำงานในภาครัฐและเอกชน ประกอบอาชีพระดับนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการติดต่อสื่อสาร เช่น งานโต้ตอบจดหมายทางธุรกิจ งานประชาสัมพันธ์ งานต้อนรับ งานสายการบิน งานพิธีกร งานเลขานุการ และสามารถประกอบอาชีพอื่นๆที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

เรียนภาษาญี่ปุ่นครอบคลุมการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น N5-N1 ผ่านหลายมิติ เช่น วัฒนธรรมญี่ปุ่น เทคโนโลยีญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่น ผู้คน วิถีชีวิตความเป็นอยู่ สร้างและพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่นระดับสูงผ่านกิจกรรมและโครงการแลกเปลี่ยน ณ ประเทศญี่ปุ่นเพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญภาษาญี่ปุ่นในองค์กรญี่ปุ่นหรือไทยทั้งภาครัฐและเอกชน สามารถเป็นผู้ประกอบการในทุกสายอาชีพที่ต้องใช้การสื่อสารด้วยภาษาญี่ปุ่น ตลอดจนเพื่อศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น​

รายละเอียดหลักสูตรรูป Flowchart

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษและการแปล

It’s a must because it’s a PLUS. “ภาษาอังกฤษได้แน่ แถมการแปลก็ได้ด้วย”
การเรียน “ภาษาอังกฤษ” ในเนื้อหาที่ “หลากหลาย” เพื่อเปิดโลกทัศน์ทางภาษา และเพิ่มทักษะเฉพาะด้านคือ “การแปล” เพื่อตอบสนองเทรนด์ตลาดแรงงานยุคใหม่ที่ต้องการผู้ที่มีความสามารถเฉพาะทาง นอกไปจากความรู้ทางภาษาแต่เพียงอย่างเดียว หลักสูตรนี้ผ่านการออกแบบมาเพื่อให้บัณฑิตมีพื้นฐานอันแข็งแกร่งเพื่อการประกอบอาชีพที่ใช้ภาษาและการแปล ในหลายภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ และเอื้อต่อการศึกษาต่อได้ทั้งในสายภาษาและสายที่เกี่ยวข้อง ดังผลประจักษ์จากศิษย์เก่าที่เจริญก้าวหน้าหลายรุ่นที่ผ่านมา

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มีความคิดกว้างไกล มีทักษะเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ มีความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์ ตลอดจนมีคุณธรรมและจริยธรรมอันเป็นคุณสมบัติของพลเมืองที่ดีของชาติ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

สาขาวิชาภาษาจีน มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถทั้งทักษะทางภาษาจีน การใช้ประโยชน์ได้จริง สื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ฝึกใช้ภาษากับเจ้าของภาษา การใช้ภาษาที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมชาติเหมือนเจ้าของภาษาใช้เอง

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

ใหม่ล่าสุดสำหรับนักเรียนที่หลงใหลในการแสดงบนเวทีแห่งความฝัน ที่จะคุณถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก จากบทละครสู่การแสดงบนเวทีต่าง ๆ เลือกสาขาศิลปะการแสดงและการละคร เพื่อทำความฝันคุณให้เป็นจริง

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเกาหลี

ในปัจจุบันสาธารณรัฐเกาหลีมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในเวทีโลก ภาษาเกาหลีจึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับตลาดแรงงานรุ่นใหม่ สาขาวิชาภาษาเกาหลีจึงมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่สามารถใช้ภาษาเกาหลีได้หลากหลายรูปแบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบัน เช่น เจ้าหน้าที่ประสารงานฝ่ายต่างประเทศ ล่าม ผู้ทำงานในธุรกิจท่องเที่ยว หลักสูตรสาขาภาษาเกาหลีมีแผนการเรียนให้เลือกได้มากถึง 3 หลักสูตรซึ่งประกอบด้วย แผนการเรียนแบบปกติ (ภาคปกติ และ ปริญญาตรีใบที่สอง) แผนการเรียนสหกิจศึกษา และแผน Exchange Program ซึ่งนักศึกษาสามารถไปแลกเปลี่ยน ณ สาธารณรัฐเกาหลีเป็นเวลา 2 ภาคการศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อผู้ประกอบการและ Chinese (in the Field of Business) 2+2

เรียนที่ม.หอการค้าไทย(UTCC) 2 ปี และเรียนที่ Beijing Language and Culture University (BLCU) ประเทศจีน 2 ปี ได้ 2 ปริญญา (double degree)
หลักสูตรฯ มีความล้ำสมัย ครอบคลุมตลาดงานด้านภาษาจีนในประเทศไทยและจีน รวมถึงกลุ่มประชาคมอาเซียน เหนือกว่าด้วยเพราะเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในประเทศจีน(WIL)และระบบการเรียนแบบ Digital Hybrid พร้อมสร้างผู้ประกอบการตัวจริง คิดต่างอย่างมีนวัตกรรม หลักสูตรฯ มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นทรัพยากรบุคคลของชาติที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาจีนทั้งด้านความรู้และทักษะ เช่น การฟัง พูด อ่าน เขียน แปล และการทำวิจัย เพื่อสามารถนำไปใช้ในการเป็นผู้ประกอบการและประกอบวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาจีนทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (หลักสูตร PPS)

หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาสหวิทยาการ คณะมนุษยศาสตร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่าหลักสูตร PPS (Philosophy, Psychology, and Sociology) เป็นหลักสูตรด้านมนุษยศาสตร์ (ปรัชญา จิตวิทยา และสังคมวิทยา) ที่ตอบโจทย์การศึกษาร่วมสมัย เพราะมาพร้อมกับกลุ่มวิชาเอกเลือกที่ออกแบบแผนการเรียนได้ตามความสนใจรายบุคคล ปลดล็อกทักษะข้ามศาสตร์ เลือกเรียนวิชาต่าง ๆ ได้จากหลากหลายคณะ บูรณาการให้ผู้เรียนรู้ลึกทางมนุษยศาสตร์และรู้กว้างในศาสตร์ประยุกต์อื่น ๆ อย่างเป็นสหวิทยาการ

รายละเอียดหลักสูตร

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ (หลักสูตรสองภาษา)

เน้นความรู้ทางธุรกิจและทักษะภาษาอังกฤษธุรกิจผ่านการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษเกือบทุกรายวิชาด้วยเนื้อหาที่ทันสมัยสำหรับการทำงานในยุค 4.0 พร้อมทั้งสร้างความโดดเด่นด้วยภาษาที่สาม เช่น ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น และภาษาจีน บัณฑิตของเราสามารถทำงานในหลากหลายองค์กรและอาชีพ เช่น ธุรกิจการบิน ธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ นักแปล และ ล่าม รวมทั้งสามารถศึกษาต่อในระดับสูง

รายละเอียดหลักสูตร
ภาคเสาร์ - อาทิตย์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีความเชี่ยวชาญในหลายๆด้าน เช่น การสื่อสารธุรกิจระหว่างวัฒนธรรม ทักษะการนำเสนองาน การเขียนจดหมายโต้ตอบทางธุรกิจ การแปลเอกสาร ความเข้าใจในสุนทรียในงานวรรณกรรม โดยเน้นการนำความรู้ทฤษฎีด้านหลักภาษาและประสบการณ์การเรียนไปประยุกต์ใช้ได้จริงในการทำงาน สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย เช่น งานประชาสัมพันธ์ การตลาด การโรงแรม การติดต่อลูกค้า งานสายการบิน การท่องเที่ยว การเป็นพิธีกร ล่าม เลขานุการ และสายงานอื่นๆที่ต้องใช้ความเชี่ยวชาญด้านภาษาอังกฤษ สามารถเข้าทำงานทั้งในภาครัฐและเอกชนระดับนานาชาติ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างดีทั้ง ในภาครัฐและเอกชน อีกทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกงาน ในองค์กรต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ และ ความมั่นใจในการประกอบอาชีพ

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

สาขาวิชาภาษาจีน มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้มีความสามารถทั้งทักษะทางภาษาจีน การใช้ประโยชน์ได้จริง สื่อสารได้อย่างคล่องแคล่วทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ฝึกใช้ภาษากับเจ้าของภาษา การใช้ภาษาที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมชาติเหมือนเจ้าของภาษาใช้เอง

รายละเอียดหลักสูตร
ปริญญาใบที่สอง

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

เรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษธุรกิจ ในทุก ๆ ทักษะ ทั้งในด้านฟัง พูด อ่าน เขียน และแปล เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ฝึกงานในสถานประกอบการที่มีชื่อเสียง และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการประกอบอาชีพ ได้อย่างหลากหลายเมื่อสำเร็จการศึกษา

รายละเอียดหลักสูตร

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น

เรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้อย่างดีทั้ง ในภาครัฐและเอกชน อีกทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสฝึกงาน ในองค์กรต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ และ ความมั่นใจในการประกอบอาชีพ

รายละเอียดหลักสูตรรูป Flowchart

ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน

มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็นทรัพยากรบุคคลของชาติที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านภาษาจีนทั้งด้านความรู้และทักษะ เช่น การฟัง พูด อ่าน เขียนและแปล เพื่อสามารถนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาจีนทั้งในหน่วยงานของรัฐและเอกชน ตลอดจนสามารถใช้ภาษาจีนเพื่อเป็นสื่อในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม และเป็นพื้นฐานเพื่อการศึกษาต่อยอดในระดับที่สูงขึ้นต่อไปตามสภาพความพร้อมและความต้องการของนักศึกษาต่อไป

รายละเอียดหลักสูตร

คณาจารย์

อาจารย์ ดร.จักรพันธ์ เรียมลิว

อาจารย์ ดร.จักรพันธ์ เรียมลิว

หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรีใบที่สอง (ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์นิภาพรรณ สิงหพันธุ์

อาจารย์นิภาพรรณ  สิงหพันธุ์

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.วุฒิยา พยัคฆ์มาก

อาจารย์ ดร.วุฒิยา พยัคฆ์มาก

 

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ศันสนีย์ ปัญญาเลิศ

อาจารย์ ดร.ศันสนีย์ ปัญญาเลิศ

(หัวหน้าหลักสูตรอังกฤษธุรกิจ-นานาชาติ)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์รสสุคนธ์ รัตนธาดา

อาจารย์รสสุคนธ์ รัตนธาดา

 

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์นิรันดร์ ขุมบางลี่

อาจารย์นิรันดร์ ขุมบางลี่

(หัวหน้าหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ศิริอร ละดาห์

อาจารย์ ดร.ศิริอร ละดาห์

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.นพณัฐ เลิศสุทธิผล

อาจารย์ ดร.นพณัฐ เลิศสุทธิผล

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.วาสนา สมอัจฉริยกุล

อาจารย์ ดร.วาสนา สมอัจฉริยกุล

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ปณวัฒน์ วัฒนวิทย์

อาจารย์ ดร.ปณวัฒน์  วัฒนวิทย์

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Aj-Poramate_new

อาจารย์ ดร.ปรเมษฐ์  หลอดอาสา

วิชาภาษาอังกฤษ

 

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ปาริฉัฐษร์ วงศ์สุวรรณ

อาจารย์ ดร.ปาริฉัฐษร์ วงศ์สุวรรณ

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรียานุช จันทร์ประเสริฐ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรียานุช  จันทร์ประเสริฐ

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Orapat P

อาจารย์ ดร.อรภัทร พุกกะเวส

(หัวหน้าหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.จิตติมา เสงี่ยมจิตร์

อาจารย์ ดร.จิตติมา เสงี่ยมจิตร์

รองหัวหน้าหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ

 

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ยุวรี ทองวิวัฒน์

อาจารย์ ดร.ยุวรี ทองวิวัฒน์

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธินี ชวนไชยสิทธิ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธินี ชวนไชยสิทธิ์

(ผู้อำนวยการศูนย์ภาษา)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ยอดหญิง จิตรีขันธ์

อาจารย์ยอดหญิง จิตรีขันธ์

 

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

AJPornnicha

อาจารย์ ดร.พรณิชา วีระคัณโฑ

หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรี นอกเวลาทำการ (ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Anthony Neil Catto

Aj. Anthony Neil Catto

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Richard David Grunwell

Aj. Richard David Grunwell

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์สิริรัตน์ พุ่มประสาท

อาจารย์สิริรัตน์ พุ่มประสาท

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณุวีร์ ชมพูชาติ

รองศาสตราจารย์ ดร.ณุวีร์ ชมพูชาติ

ประธานฝ่ายส่งเสริมงานวิชาการและวิจัย

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.สมฤดี เดชอมร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมฤดี เดชอมร

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ณฐาพร ศรีจำนง

อาจารย์ ดร.ณฐาพร ศรีจำนง

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.จันทร์ปรียา บุณยรัตพันธุ์

อาจารย์ ดร.จันทร์ปรียา บุณยรัตพันธุ์

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

A_Pongwit2

อาจารย์พงษ์วิทย์ นามทะจันทร์

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์สิรินยา จิระสวัสดิ์

อาจารย์สิรินยา จิระสวัสดิ์

(เลขานุการหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพและการสื่อสารนานาชาติ)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Steven Ross Brownel

Aj. Steven Ross Brownell

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Victoria Elman-Wijuntamook

Aj. Victoria Elman-Wijuntamook

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

2020-10-21_14-41-22_129

อาจารย์ ดร.ภาสกร เชื้อสวย

(หัวหน้าหลักสูตรภาษาอังกฤษและการแปล)

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์นวลน้อย ตระกูลกิตติไพศาล

อาจารย์นวลน้อย ตระกูลกิตติไพศาล

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

Thomas Edward Smith

Aj. Thomas Edward Smith

วิชาภาษาอังกฤษ

เพิ่มเติม

อาจารย์รัตน์จิต ทองเปรม

อาจารย์รัตน์จิต ทองเปรม

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

AJrattakitnew2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐกิตติ์ เลิศวิศวะ

(หัวหน้าหลักสูตรภาษาญี่ปุ่น 2+2)

(หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรี นอกเวลาทำการ (ภาษาญี่ปุ่น))

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ธีระวุฒิ สุนทรา

อาจารย์ ดร.ธีระวุฒิ สุนทรา

หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรีใบที่สอง (ภาษาญี่ปุ่น)

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.อัจจิมา วัชราภรณ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจจิมา วัชราภรณ์

หัวหน้าหลักสูตรภาษาญี่ปุ่น

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

อาจารย์อัจฉรา เสรีพันธ์พานิช

อาจารย์อัจฉรา เสรีพันธ์พานิช

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

Osamu Tamaki

Aj. Osamu Tamaki

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

S__5193738

อาจารย์ ดร.วีรยุทธ พจน์เสถียรกุล

วิชาภาษาญี่ปุ่น

เพิ่มเติม

อาจารย์สุพัตรา ห.เพียรเจริญ

อาจารย์ ดร.สุพัตรา ห.เพียรเจริญ

หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรีใบที่สอง (ภาษาจีน)

 

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

รองศาสตราจารย์ ดร.บุรินทร์ ศรีสมถวิล

รองศาสตราจารย์ ดร.บุรินทร์ ศรีสมถวิล

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

อาจารย์นิวัฒน์ นิมมานวรวงศ์

อาจารย์นิวัฒน์ นิมมานวรวงศ์

(หัวหน้าหลักสูตร)

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุรี สุชนวนิช

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุรี สุชนวนิช

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.จินดาพร พินพงทรัพย์

อาจารย์ ดร.จินดาพร พินพงทรัพย์

หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรี นอกเวลาทำการ (ภาษาจีน)

(หัวหน้าหลักสูตรภาษาจีนเพื่อผู้ประกอบการ 2+2)

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.เจษฏา นิลสงวนเดชะ

อาจารย์ ดร.เจษฏา นิลสงวนเดชะ

(เลขานุการหลักสูตรภาษาจีน)

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

Aj Qingyuan Zheng

Aj. Qingyuan Zheng

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

S__34529327

Aj. Jia Zhongxia

วิชาภาษาจีน

เพิ่มเติม

รองศาสตราจารย์ขนิษฐา จิตชินะกุล

รองศาสตราจารย์ขนิษฐา จิตชินะกุล

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวรรณา งามเหลือ

รองศาสตราจารย์สุวรรณา งามเหลือ

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

อาจารย์สุวิมล โกศลกาญจน์

อาจารย์สุวิมล โกศลกาญจน์

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักริน จุลพรหม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักริน จุลพรหม

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

อาจารย์นงลักษณ์ บัณฑุวงศ์

 อาจารย์นงลักษณ์ บัณฑุวงศ์

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์บัวผัน สุพรรณยศ

รองศาสตราจารย์บัวผัน สุพรรณยศ

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรมาภรณ์ ลิมป์เลิศเสถียร

รองศาสตราจารย์ปรมาภรณ์ ลิมป์เลิศเสถียร

(หัวหน้าหลักสูตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร)
วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

ajsumonta

อาจารย์สุมณฑา ศักดิ์ชัยสมบูรณ์

ประธานโครงการสอนภาษาไทยให้นักศึกษาจีน

วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

เพิ่มเติม

wuttinun

อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาล

 

วิชาภาษาเกาหลี

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.ณัฐยา สัตยะพงษ์พันธุ์

อาจารย์ ดร.ณัฐยา เต็มภัทราโชค

วิชาภาษาเกาหลี

เพิ่มเติม

อาจารย์สุพัชชา อินทุโศภน

อาจารย์ ดร.สุพัชชา อินทุโศภน

หัวหน้าหลักสูตรภาษาเกาหลี

วิชาภาษาเกาหลี

เพิ่มเติม

อาจารย์วิมลมาส หมื่นหอ

อาจารย์ ดร.วิมลมาส หมื่นหอ

หัวหน้าหลักสูตร ป. ตรีใบที่สอง (ภาษาเกาหลี)

วิชาภาษาเกาหลี

เพิ่มเติม

AJ-korakoj

อาจารย์กรกฎ ทองบริบูณณ์

วิชาภาษาเกาหลี

เพิ่มเติม

AJYuth

อาจารย์ยุทธ อุทยานินทร์

  หัวหน้าหลักสูตร

วิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

เพิ่มเติม

AJkittipong

อาจารย์กิตติพงษ์ อินทรัศมี

วิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

เพิ่มเติม

kittisak

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติศักดิ์ เกิดอรุณสุขศรี

วิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

เพิ่มเติม

อาจารย์ศิรินุช เพ็ชรอุไร

อาจารย์ศิรินุช เพ็ชรอุไร

วิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

เพิ่มเติม

อาจารย์ ปานรัตน กริชชาญชัย

อาจารย์ ปานรัตน  กริชชาญชัย

วิชาศิลปะและธุรกิจการแสดง

เพิ่มเติม

_FLK0711

รองศาสตราจารย์ ดร.อุสา สุทธิสาคร

 

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์รติรัตน์ มหาทรัพย์

อาจารย์รติรัตน์ มหาทรัพย์

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.จอมขวัญ ผลภาษี

อาจารย์ ดร.จอมขวัญ ผลภาษี

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.เอกธิป สุขวารี

อาจารย์ ดร.เอกธิป  สุขวารี

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์

อาจารย์ ดร.สรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์

หัวหน้าหลักสูตรสหวิทยาการ

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

รองศาสตราจารย์เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ

รองศาสตราจารย์เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ

อาจารย์สุจรรยา จันทรศิริ

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

Aj-pajaree

อาจารย์ ดร.ปาจรีย์ หวังรุ่งกิจ

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์อรสา รัตนวงษ์

อาจารย์อรสา รัตนวงษ์

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม

อาจารย์ ดร.สยาม ค้าสุวรรณ

อาจารย์ ดร.สยาม ค้าสุวรรณ

วิชาสหวิทยาการ

เพิ่มเติม